📢มาร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับพวกเราชมรมCU Leadershipกันเถอะ💥 . . 👉🏻CU Leadershipเป็นพื้นที่ที่จะให้โอกาสน้องๆในการพัฒนาตัวเองให้สุดไปอีกขั้น ทั้งยังเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำผ่านการแชร์ประสบการณ์และความคิด . 👉🏻นอกจากนี้ยังช่วยสร้างเสริมsoft skills , hard skills และtechnology skills ให้น้องๆได้รับกลับไปกันอีกด้วย . . 🎉แล้วอย่าลืมมาร่วมสร้างconnectionกับพวกเรากันนะคะ✨ . . 📌 Apply now (Today – 24 Jan 21) Click!!👇🏻 . //forms.gle/AT4yM9pj9LxPaDHn9 อ่านต่อ
โอกาสมาถึงแล้วสำหรับคนที่สนใจในการทำ Startup กับโครงการ “Startup Thailand League 2021” 🥳🎉 ✅ ระยะเวลาโครงการ: มกราคม-สิงหาคม โดยจะแบ่งเป็น 2 ช่วง คือ 🥇มกราคม-เมษายน เป็นการอบรม เมนเทอร์ และคัดเลือกตัวแทนระดับมหาวิทยาลัย 🏆พฤษภาคม-สิงหาคม เป็นการแข่งขันระดับประเทศ ✅ คุณสมบัติผู้เข้าร่วม: – นิสิตจุฬาทุกชั้นปี – สามารถสมัครได้ทั้งแบบเดี่ยว (แล้วมาหาสมาชิกในโครงการ) หรือสมัครเป็นทีม (ทีมละ 3-5 คน) 🚨เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 4-19 มกราคม 2564 แล้วพบกันในกิจกรรม first meet วันที่ 23 มกราคม เวลา 13.00-15.30 น. สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการ คลิ๊กเลย!👉🏻👉🏻👉🏻 //forms.gle/wWqzbR4F1K1xw2FZ6 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิ๊ก👉🏻 //www.facebook.com/105658744799872/posts/108938627805217/
โอกาสมาถึงแล้วสำหรับคนที่สนใจในการทำ Startup กับโครงการ “Startup Thailand League 2021” 🥳🎉 ✅ ระยะเวลาโครงการ: มกราคม-สิงหาคม โดยจะแบ่งเป็น 2 ช่วง คือ 🥇มกราคม-เมษายน เป็นการอบรม เมนเทอร์ และคัดเลือกตัวแทนระดับมหาวิทยาลัย 🏆พฤษภาคม-สิงหาคม เป็นการแข่งขันระดับประเทศ ✅ คุณสมบัติผู้เข้าร่วม: – นิสิตจุฬาทุกชั้นปี – สามารถสมัครได้ทั้งแบบเดี่ยว (แล้วมาหาสมาชิกในโครงการ) หรือสมัครเป็นทีม (ทีมละ 3-5 คน) 🚨เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 4-19 มกราคม 2564 แล้วพบกันในกิจกรรม first meet วันที่ 23 มกราคม เวลา 13.00-15.30 น. สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการ คลิ๊กเลย!👉🏻👉🏻👉🏻 //forms.gle/wWqzbR4F1K1xw2FZ6 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิ๊ก👉🏻 //www.facebook.com/105658744799872/posts/108938627805217/ อ่านต่อ
พรุ่งนี้ (6 มกราคม 2564) เวลา 20.00 น. มีประชุมออนไลน์อธิบายโครงการ YSF-Ted Fund ของ Certified Incubator-CU Innovation Hub ลิงค์การประชุมด้านล้างค่ะ สำหรับท่านที่ต้องการติดต่อโครงการ YSF-Ted Fund ของ CU Innovation Hub ขอความกรุณาติดต่อผ่าน email: [email protected] นะคะ เนื่องจากตอนนี้ทางจุฬาฯ ให้ work form home จะไม่สามารถรับโทรศัพท์ของศูนย์ได้ค่ะ ลิงค์การประชุม Topic: YSF Ted Fund 2021_CU I HUB Join Zoom Meeting //chula.zoom.us/j/94118871090?pwd=MElISSt3dkNPYUNITjlxc05ONXVjQT09 Meeting ID: 941 1887 1090 Password: 432753Photos from CU Innovation Hub’s post
พรุ่งนี้ (6 มกราคม 2564) เวลา 20.00 น. มีประชุมออนไลน์อธิบายโครงการ YSF-Ted Fund ของ Certified Incubator-CU Innovation Hub ลิงค์การประชุมด้านล้างค่ะ สำหรับท่านที่ต้องการติดต่อโครงการ YSF-Ted Fund ของ CU Innovation Hub ขอความกรุณาติดต่อผ่าน email: [email protected] นะคะ เนื่องจากตอนนี้ทางจุฬาฯ ให้ work form home จะไม่สามารถรับโทรศัพท์ของศูนย์ได้ค่ะ ลิงค์การประชุม Topic: YSF Ted Fund 2021_CU I HUB Join Zoom Meeting //chula.zoom.us/j/94118871090?pwd=MElISSt3dkNPYUNITjlxc05ONXVjQT09 Meeting ID: 941 1887 1090 Password: 432753 อ่านต่อ
โครงการวัคซีนเพื่อคนไทย #CUInnovationHub #baiya #CUEnterprise ประเด็นเป็นข่าว 1 มกราคม 2564 ประเด็น โครงการวัคซีนเพื่อคนไทยwww.youtube.comรับชมรายการ ประเด็นเป็นข่าว 1 มกราคม 2564 ในประเด็น โครงการวัคซีนเพื่อคนไทย พบกับแขกรับเชิญ รศ.ดร.ณัฐชา ทวีแสง…..
โครงการวัคซีนเพื่อคนไทย #CUInnovationHub #baiya #CUEnterprise รับชมรายการ ประเด็นเป็นข่าว 1 มกราคม 2564 ในประเด็น โครงการวัคซีนเพื่อคนไทย พบกับแขกรับเชิญ รศ.ดร.ณัฐชา ทวีแสง….. อ่านต่อ
3 เหตุผล ที่ควรสนับสนุนการผลิตวัคซีน COVID-19 ของนักวิจัยไทย 1. การผลิตวัคซีน COVID-19 ของไทยเป็นการผลิตจากพืชซึ่งเป็นการใช้เทคโนโลยีทางชีวภาพเพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของคนไทยในการป้องกันไวรัส COVID-19 รวมไปถึงการผลิตวัคซีน COVID-19 เหมือนเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญที่สร้างระบบและศูนย์ผลิตวัคซีนของไทยให้สามารถผลิตยาและเทคโนโลยีชีวภาพใหม่ๆ มาให้คนไทยได้ใช้กัน 2. ลดต้นทุนการนำเข้าจากต่างประเทศและลดค่าใช้จ่ายของประชาชนไทยหากเราสามารถผลิตวัคซีนได้เองเราจะลดอัตราการนำเข้ายาและวัคซีนได้ส่วนหนึ่งรวมถึงราคาของวัคซีนจะลดลงหากไทยสามารถผลิตวัคซีนได้จำนวนมาก หากผลิตได้มากจะลดต้นทุนการผลิตและราคาจะถูกขึ้นมากและคนไทยสามารถเข้าถึงได้ง่าย 3. ลดขั้นตอนและเวลาของการนำเข้าวัคซีน COVID-19 ถึงเเม้จะมีวัคซีนเกิดขึ้นเเล้วแต่ใช่ว่าจะมีเพียงประเทศไทยที่ต้องการวัคซีนนี้ ดังนั้น นอกจากระยะเวลาเดินทางของวัคซีนที่ต้องใช้เวลากว่าจะมาถึง สิ่งหนึ่งที่ต้องคำนึงคือ จำนวนของวัคซีน COVID-19 ที่อาจไม่เพียงพอต่อปริมาณประชาชนในประเทศได้ทันเวลากับอัตราการเพิ่มขึ้นในเเต่ละวันของผู้ติดเชื้อไวรัส COVID-19 การสร้างวัคซีน COVID-19 นี้เหมือน “การเปลี่ยนความกลัว ให้เป็นความหวัง” ที่มาเร่งสร้างการพัฒนาให้วงการเทคโนโลยีชีวภาพและการเเพทย์ของไทยให้ดีขึ้นตั้งเเต่ต้นน้ำหรือ เป็นผู้ผลิตยาและวัคซีนได้เอง เพราะที่ผ่านมาเราเหมือนยืมจมูกผู้อื่นหายใจทั้งที่เรามีความรู้และบุคคลากรทีพร้อม มีศักยภาพมากพอในการสร้างวงจรความมั่นคงทางเทคโนโลยีชีวภาพและการเเพทย์ได้ สามารถเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมผลักดันการผลิตวัคซีนป้องกัน COVID-19 โดยคนไทยเพื่อคนไทยได้ที่ //www.cuenterprise.co.th/ อ่านเพิ่มเติมได้ที่ ://techsauce.co/tech-and-biz/3-reasons-why-thais-should-support-the-covid-19-vaccine CU Enterprisewww.cuenterprise.co.thบริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัด วัตถุประสงค์ของบริษัท เพื่อสนับสนุน การสร้าง นวัตกร นวัตกรรม ผู้ประกอบการ …
3 เหตุผล ที่ควรสนับสนุนการผลิตวัคซีน COVID-19 ของนักวิจัยไทย 1. การผลิตวัคซีน COVID-19 ของไทยเป็นการผลิตจากพืชซึ่งเป็นการใช้เทคโนโลยีทางชีวภาพเพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของคนไทยในการป้องกันไวรัส COVID-19 รวมไปถึงการผลิตวัคซีน COVID-19 เหมือนเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญที่สร้างระบบและศูนย์ผลิตวัคซีนของไทยให้สามารถผลิตยาและเทคโนโลยีชีวภาพใหม่ๆ มาให้คนไทยได้ใช้กัน 2. ลดต้นทุนการนำเข้าจากต่างประเทศและลดค่าใช้จ่ายของประชาชนไทยหากเราสามารถผลิตวัคซีนได้เองเราจะลดอัตราการนำเข้ายาและวัคซีนได้ส่วนหนึ่งรวมถึงราคาของวัคซีนจะลดลงหากไทยสามารถผลิตวัคซีนได้จำนวนมาก หากผลิตได้มากจะลดต้นทุนการผลิตและราคาจะถูกขึ้นมากและคนไทยสามารถเข้าถึงได้ง่าย 3. ลดขั้นตอนและเวลาของการนำเข้าวัคซีน COVID-19 ถึงเเม้จะมีวัคซีนเกิดขึ้นเเล้วแต่ใช่ว่าจะมีเพียงประเทศไทยที่ต้องการวัคซีนนี้ ดังนั้น นอกจากระยะเวลาเดินทางของวัคซีนที่ต้องใช้เวลากว่าจะมาถึง สิ่งหนึ่งที่ต้องคำนึงคือ จำนวนของวัคซีน COVID-19 ที่อาจไม่เพียงพอต่อปริมาณประชาชนในประเทศได้ทันเวลากับอัตราการเพิ่มขึ้นในเเต่ละวันของผู้ติดเชื้อไวรัส COVID-19 การสร้างวัคซีน COVID-19 นี้เหมือน “การเปลี่ยนความกลัว ให้เป็นความหวัง” ที่มาเร่งสร้างการพัฒนาให้วงการเทคโนโลยีชีวภาพและการเเพทย์ของไทยให้ดีขึ้นตั้งเเต่ต้นน้ำหรือ เป็นผู้ผลิตยาและวัคซีนได้เอง เพราะที่ผ่านมาเราเหมือนยืมจมูกผู้อื่นหายใจทั้งที่เรามีความรู้และบุคคลากรทีพร้อม มีศักยภาพมากพอในการสร้างวงจรความมั่นคงทางเทคโนโลยีชีวภาพและการเเพทย์ได้ สามารถเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมผลักดันการผลิตวัคซีนป้องกัน COVID-19 โดยคนไทยเพื่อคนไทยได้ที่ //www.cuenterprise.co.th/ อ่านเพิ่มเติมได้ที่ ://techsauce.co/tech-and-biz/3-reasons-why-thais-should-support-the-covid-19-vaccine บริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัด วัตถุประสงค์ของบริษัท เพื่อสนับสนุน การสร้าง นวัตกร นวัตกรรม ผู้ประกอบการ … อ่านต่อ
วันเสาร์ที่ 2 ม.ค. 2564 — ศูนย์โควิด-19 จุฬาฯ เข้ม! ประกาศมาตรการปิดที่ทำการจุฬาฯ รับมือการระบาดครั้งใหม่ ถึง 31 ม.ค. 2564 #จุฬาฯ #เป็นห่วงนะ คณะกรรมการ COVID-19 จุฬาฯ นำโดย ศ.นพ.ดร.นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล รองอธิการบดี ประชุมเข้มเมื่อวันเสาร์ที่ 2 ม.ค. 64 เวลา 13:00 น. เร่งมาตรการเพิ่มความปลอดภัย ปิดที่ทำการจุฬาถึง 31 ม.ค. 📣📣📣 อ่านรายละเอียดประกาศทั้งหมดที่ //www.chula.ac.th/news/37330/ ทั้งนี้มีรายละเอียดสำคัญที่ชาวจุฬาฯ ควรทราบดังนี้ 1. จุฬาฯ เปิดไหม? 🙅🏻 ไม่เปิด จุฬาฯ ปิดสถานที่ทำการทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดทั้งหมด 2. การเรียนการสอนเป็นอย่างไร? 📱💻Online ทั้งหมด 3. บุคลากรจุฬาฯ ยังทำงานหรือไม่? 🏠 บุคลากรยังคงทำงานอย่างเต็มที่แบบ Work from Home ยกเว้นผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าหน่วยงานหรือรองอธิการบดีให้มาทำงานในพื้นที่มหาวิทยาลัย 4. รถบัสจุฬาฯ (รถปอ.พ.) ยังเปิดให้บริการไหม? 🛑 ไม่เปิดให้บริการ 5. ประตูใดเปิดบ้าง? 🚪ทางรถเข้าออก ประตูบัญชีฯ ประตูธรรมสถาน ประตูจุฬาพัฒน์ ประตูสัตวแพทย์ และประตูเภสัช โดยคัดกรองให้เข้าได้เฉพาะรถที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น 🚪ประตูทางเดินเท้า ประตูอักษร ประตูสถาปัตย์ ประตูจาม 9-สาธิตมัธยม ประตูจาม 10-ศศินทร์ ประตูเภสัช ประตูสัตวแพทย์ ประตูสหเวชสนามกีฬาแห่งชาติ และประตูครุ-จาม 4 เวลา 6:00-18:00 น. ประตูทางเท้า จามสแควร์-บัญชีฯ เปิดปกติจนกว่าจามจุรีสแควร์จะประกาศปิด อนึ่งอาคารจอดรถรัฐศาสตร์และอักษร เปิดให้ขึ้นอาคารได้ แต่ไม่ให้เข้าภายในมหาวิทยาลัย 6. โรงอาหารใดเปิดบ้าง? 🍲โรงอาหารรวมอาคารจอดรถ 2 โรงอาหารสำนักงานมหาวิทยาลัย และโรงอาหารหอพักนิสิต โดยอนุญาตให้ใช้บริการเฉพาะบุคลากรและนิสิตจุฬาฯ เท่านั้น และมีมาตรการรักษาความสะอาดและปลอดภัยอย่างเคร่งครัด 7. กิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยดำเนินการอย่างไร? 🙅🏻งดกิจกรรมทั้งภายนอกและภายในมหาวิทยาลัยที่ต้องมาพบกัน ทั้งนี้อาจพิจารณาเลื่อนการจัดกิจกรรมออกไป หรือปรับกิจกรรมเป็นรูปแบบอื่นก็ได้ 8. หน่วยงานใดยังเปิดดำเนินการ?งานบริการทางการแพทย์ที่มีความจำเป็นและฉุกเฉิน งานรักษาความปลอดภัย งานดูแลระบบต่าง ๆ งานที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือสัญญา ที่ต้องดำเนินการให้ทันเวลา และงานที่มีความจำเป็นตามความเห็นของหัวหน้าหน่วยงานหรือรองอธิการบดี ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ด้านสุขอนามัยและความปลอดภัยสูงสุดของชาวจุฬาฯ #จุฬาฯเป็นห่วงนะPhotos from CU Innovation Hub’s post
วันเสาร์ที่ 2 ม.ค. 2564 — ศูนย์โควิด-19 จุฬาฯ เข้ม! ประกาศมาตรการปิดที่ทำการจุฬาฯ รับมือการระบาดครั้งใหม่ ถึง 31 ม.ค. 2564 #จุฬาฯ #เป็นห่วงนะ คณะกรรมการ COVID-19 จุฬาฯ นำโดย ศ.นพ.ดร.นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล รองอธิการบดี ประชุมเข้มเมื่อวันเสาร์ที่ 2 ม.ค. 64 เวลา 13:00 น. เร่งมาตรการเพิ่มความปลอดภัย ปิดที่ทำการจุฬาถึง 31 ม.ค. 📣📣📣 อ่านรายละเอียดประกาศทั้งหมดที่ //www.chula.ac.th/news/37330/ ทั้งนี้มีรายละเอียดสำคัญที่ชาวจุฬาฯ ควรทราบดังนี้ 1. จุฬาฯ เปิดไหม? 🙅🏻 ไม่เปิด จุฬาฯ ปิดสถานที่ทำการทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดทั้งหมด 2. การเรียนการสอนเป็นอย่างไร? 📱💻Online ทั้งหมด 3. บุคลากรจุฬาฯ ยังทำงานหรือไม่? 🏠 […]
ข่าวดี สำหรับ นิสิต นักศึกษา หรือผู้สำเร็จการศึกษาใหม่ไม่เกิน 5 ปี ที่กำลังมองหาทุนสนับสนุนการทำธุรกิจ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Innovation Hub) ได้รับการรับรองให้เป็น Certified Incubator จาก กองทุนพัฒนาผู้ประกอบการ (Ted Fund) กำลัวเปิดรับสมัครผู้ประกอบการหน้าใหม่ที่สนใจเข้าร่วมโครงการบ่มเพาะเพื่อขอทุนสนับสนุนจากโครงการ Youth Startup Fund-Ted Fund ในระดับ Ideation 100,000 บาท และระดับ POC 1,500,000 บาท ผู้สนใจสามารถศึกษาข้อมูลได้ตามรายละเอียดในภาพ ลงทะเบียนได้ที่ //forms.gle/mTGMPwLRMSaaz19P6 ตั้งแต่วันนี้-8 มกราคม2564 > ประชุมอธิบายโครงการ 6 มกราคม 2564 > สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่คุณพิมพ์ โทร. 02 218 3106 หรือ email : [email protected] หมายเหตุ : ทุนของโครงการเป็นทุนแบบเบิกคืน คือต้องใช้จ่ายไปก่อนแล้วนำใบเสร็จมาเบิกจ่าย ตามรายการที่ทางกองทุนสนับสนุน #CUIHUB #CertifiedIncubator #Tedfund #YouthStartupFund #YSF๑Photos from CU Innovation Hub’s post
ข่าวดี สำหรับ นิสิต นักศึกษา หรือผู้สำเร็จการศึกษาใหม่ไม่เกิน 5 ปี ที่กำลังมองหาทุนสนับสนุนการทำธุรกิจ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Innovation Hub) ได้รับการรับรองให้เป็น Certified Incubator จาก กองทุนพัฒนาผู้ประกอบการ (Ted Fund) กำลัวเปิดรับสมัครผู้ประกอบการหน้าใหม่ที่สนใจเข้าร่วมโครงการบ่มเพาะเพื่อขอทุนสนับสนุนจากโครงการ Youth Startup Fund-Ted Fund ในระดับ Ideation 100,000 บาท และระดับ POC 1,500,000 บาท ผู้สนใจสามารถศึกษาข้อมูลได้ตามรายละเอียดในภาพ ลงทะเบียนได้ที่ //forms.gle/mTGMPwLRMSaaz19P6 ตั้งแต่วันนี้-8 มกราคม2564 > ประชุมอธิบายโครงการ 6 มกราคม 2564 > สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่คุณพิมพ์ โทร. 02 218 3106 หรือ email : [email protected] หมายเหตุ : ทุนของโครงการเป็นทุนแบบเบิกคืน […]
ดัน ‘ตลาดเวชภัณฑ์ไทย’ ด้วยการวิจัย – ลงทุน . จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะภาคการศึกษา ที่ผ่านมาได้จัดตั้งบริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัด (CU Enterprise) ที่ให้การสนับสนุนสตาร์ทอัพของจุฬาฯ จากการบ่มเพาะของศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ (CU Innovation Hub) ในการสร้างนวัตกรและพัฒนานวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ เช่น การพัฒนาวัคซีนป้องกันโควิด-19 จากใบพืชตระกูลยาสูบ ซึ่งเป็นวัคซีนที่ผลิตโดยคนไทย เพื่อคนไทย ล่าสุด ผลิตภัณฑ์ “ไฟท์ฝุ่น สเปรย์” (PhytFoon Spray) สเปรย์ลดฝุ่น PM2.5 ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง CU Pharmacy Enterprise (CUPE) กับภาคเอกชน ในการต่อยอดงานวิจัยไปใช้งานจริงสู่สังคมไทย . ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์” อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระบุว่า การบริหารมหาวิทยาลัยต้องสร้างความสมดุล งานวิจัย ต้องตอบโจทย์ เป็นที่ต้องการตลาด มีความต้องการ และมีความรวดเร็ว หากช้าจะไม่ทันตลาดวายหมด เช่น วัคซีน หากวัคซีนช้าเกินไป คนอื่นจะครองหมดและเราจะแทรกตัวยาก ดังนั้น เป้าหมายคือ งานวิจัยของไทยจะเปลี่ยนแปลงได้ด้วยความร่วมมือของหลายหน่วยงาน ทั้งภาครัฐ เอกชน การศึกษา และประชาชน ทำให้บ้านเราพึ่งพาเทคโนโลยีตนเอง เภสัชกรไม่ใช่แค่เพียงจ่ายยา แต่สามารถสร้างสิ่งดีๆ ให้กับสังคมได้ เป็นก้าวเล็ก แต่เกิดผลใหญ่ เป็นฝันที่เป็นจริง ทำให้เกิดผลกระทบต่อสังคม อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม //www.bangkokbiznews.com/news/detail/914398
ดัน ‘ตลาดเวชภัณฑ์ไทย’ ด้วยการวิจัย – ลงทุน . จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะภาคการศึกษา ที่ผ่านมาได้จัดตั้งบริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัด (CU Enterprise) ที่ให้การสนับสนุนสตาร์ทอัพของจุฬาฯ จากการบ่มเพาะของศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ (CU Innovation Hub) ในการสร้างนวัตกรและพัฒนานวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ เช่น การพัฒนาวัคซีนป้องกันโควิด-19 จากใบพืชตระกูลยาสูบ ซึ่งเป็นวัคซีนที่ผลิตโดยคนไทย เพื่อคนไทย ล่าสุด ผลิตภัณฑ์ “ไฟท์ฝุ่น สเปรย์” (PhytFoon Spray) สเปรย์ลดฝุ่น PM2.5 ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง CU Pharmacy Enterprise (CUPE) กับภาคเอกชน ในการต่อยอดงานวิจัยไปใช้งานจริงสู่สังคมไทย . ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์” อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระบุว่า การบริหารมหาวิทยาลัยต้องสร้างความสมดุล งานวิจัย ต้องตอบโจทย์ เป็นที่ต้องการตลาด มีความต้องการ และมีความรวดเร็ว หากช้าจะไม่ทันตลาดวายหมด เช่น วัคซีน หากวัคซีนช้าเกินไป คนอื่นจะครองหมดและเราจะแทรกตัวยาก […]
Blockchain Thailand Genesis 2020 Exclusive EditionWatch video on Facebook.com
อ่านต่อ
5 เรื่องที่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับ COVID-19 สำหรับชาวจุฬาฯ 1. เพื่อลดความเสี่ยงของตัวท่าน ชาวจุฬาฯ ทุกคนควรเข้ารับการตรวจที่ศูนย์บริการสุขภาพจุฬาฯ หรือโรงพยาบาล? . ไม่ควร หากไม่มีความเสี่ยงและไม่มีอาการป่วยยังไม่ควรไปรับการตรวจเพื่อลดความเสี่ยงของตัวท่าน และลดภาระของบุคลากรทางการแพทย์ . ทั้งนี้ทุกคนสามารถคัดกรองความเสี่ยงได้โดยใช้แบบสอบถามของ กทม. ในลิงค์นี้ //bkkcovid19.bangkok.go.th 2. ทุกคนที่ติดเชื้อมีอาการป่วย? . ไม่จริง ผู้ป่วยจำนวนมากไม่มีอาการ หรือยังไม่แสดงอาการ ชาวจุฬาฯ จึงต้องยกการ์ดสูงตามหลัก 5 ส . สแกน – สแกน QR CODE “ไทยชนะ” ในการเข้า – ออกอาคาร สวม – สวมหน้ากากอนามัยและล้างมืออย่างสม่ำเสมอ สังเกต – คอยสังเกตตัวเองหากมีอาการไม่สบายให้รีบไปพบแพทย์ สอบวัด – ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้าอาคาร หากมีอุณหภูมิเกิน 37.5 องศาเซลเซียส ให้ติดต่อศูนย์บริการสุขภาพฯ สร้าง – สร้างระยะห่างระหว่างกัน ตามมาตรการป้องกันโควิด-19 เพื่อรักษาตนเองให้ห่างไกลจากโรค 3. ต่างด้าว = ติดเชื้อ . ไม่ใช่ การเป็นชาวต่างด้าวมิได้ถือเป็นปัจจัยเสี่ยง . ปัจจัยความเสี่ยงมีดังต่อไปนี้ – การอยู่อาศัยและเข้าไปในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค – การอยู่ในที่ชุมชนที่มีการแพร่ระบาดของโควิด-19 – การสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยโควิด-19 4. ผู้มีความเสี่ยงสูง = ผู้ติดเชื้อ . ไม่ใช่ การยืนยันการติดเชื้อต้องผ่านการตรวจ PCR เท่านั้น การประเมินตนเอง หรือ การมีผลตรวจเป็น “บวก” จากการตรวจเบื้องต้นต่าง ๆ ยังไม่สามารถยืนยันการติดเชื้อได้ 100% . หากท่านเป็นผู้มีความเสี่ยงสูงต้องปรึกษาแพทย์อย่างใกล้ชิด สามารถติดต่อศูนย์บริการสุขภาพจุฬาฯ ได้ที่ 0-2218-0568 (ในวันและเวลาทำการ) หรือสายด่วน หมายเลขโทรศัพท์ 09-1761-0988 (ตลอด 24 ชั่วโมง) 5. ตรวจแล้วไม่เจอเชื้อ = ไม่ได้ป่วย . ไม่ถูกต้อง การที่ “ไม่เจอเชื้อ” ไม่ได้หมายความว่า “ไม่ติดเชื้อ” เพราะ บางคนยังอยู่ในระยะฟักตัวของโรค . ดังนั้น จึงต้องเฝ้าระวังอาการและกักกันตนเองในช่วง 14 วันหากมีประวัติเสี่ยง หรือเคยเดินทางไปพื้นที่การแพร่ระบาดโควิด-19 #เป็นห่วงนะ #จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยPhotos from CU Innovation Hub’s post
5 เรื่องที่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับ COVID-19 สำหรับชาวจุฬาฯ 1. เพื่อลดความเสี่ยงของตัวท่าน ชาวจุฬาฯ ทุกคนควรเข้ารับการตรวจที่ศูนย์บริการสุขภาพจุฬาฯ หรือโรงพยาบาล? . ไม่ควร หากไม่มีความเสี่ยงและไม่มีอาการป่วยยังไม่ควรไปรับการตรวจเพื่อลดความเสี่ยงของตัวท่าน และลดภาระของบุคลากรทางการแพทย์ . ทั้งนี้ทุกคนสามารถคัดกรองความเสี่ยงได้โดยใช้แบบสอบถามของ กทม. ในลิงค์นี้ //bkkcovid19.bangkok.go.th 2. ทุกคนที่ติดเชื้อมีอาการป่วย? . ไม่จริง ผู้ป่วยจำนวนมากไม่มีอาการ หรือยังไม่แสดงอาการ ชาวจุฬาฯ จึงต้องยกการ์ดสูงตามหลัก 5 ส . สแกน – สแกน QR CODE “ไทยชนะ” ในการเข้า – ออกอาคาร สวม – สวมหน้ากากอนามัยและล้างมืออย่างสม่ำเสมอ สังเกต – คอยสังเกตตัวเองหากมีอาการไม่สบายให้รีบไปพบแพทย์ สอบวัด – ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้าอาคาร หากมีอุณหภูมิเกิน 37.5 องศาเซลเซียส ให้ติดต่อศูนย์บริการสุขภาพฯ สร้าง – สร้างระยะห่างระหว่างกัน ตามมาตรการป้องกันโควิด-19 […]