CUHUB FB

มารู้จักกับอีกหนึ่งสตาร์ทอัพที่บ่มเพาะโดย CU I HUB แปลงเวลาว่างเป็นรายได้กับ “Wang” แพลตฟอร์มเพื่อการพัฒนา AI โดยนิสิตวิศวฯ จุฬาฯ – จุฬาลงกรณ์มwww.chula.ac.thจะดีสักแค่ไหนหากเราสามารถใช้เวลาว่างสร้างรายได้ และยังช่วยนักวิจัยพัฒนา AI ให้มีประสิทธิภาพไปด้วยในเวลา….

มารู้จักกับอีกหนึ่งสตาร์ทอัพที่บ่มเพาะโดย CU I HUB จะดีสักแค่ไหนหากเราสามารถใช้เวลาว่างสร้างรายได้ และยังช่วยนักวิจัยพัฒนา AI ให้มีประสิทธิภาพไปด้วยในเวลา…. อ่านต่อ

📍3 วันสุดท้าย! เปิดรับสมัครนิสิตฝึกงานโครงการอบรมบ่มเพาะสตาร์ทอัพ ฝ่ายจัดกิจกรรมและประสานสตาร์ทอัพ ผ่านการ ◾️ดูแลภาพรวมของโครงการบ่มเพาะ ◾️ประสานงานผู้เข้าร่วม/วิทยากร ◾️เอกสารโครงการที่เกี่ยวข้อง ◾️ช่วยงานอื่นๆ ของ CU Innovation Hub (ถ้าสนใจ) 📌สมัครได้เลยที่ลิงค์นี้ //forms.gle/FE3JXWP8R7qYnhoT7 🔻รับสมัครตั้งแต่วันนี้-25 สิงหาคม 2564 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือกและนัดสัมภาษณ์ผ่านทางอีเมล

📍3 วันสุดท้าย! เปิดรับสมัครนิสิตฝึกงานโครงการอบรมบ่มเพาะสตาร์ทอัพ ฝ่ายจัดกิจกรรมและประสานสตาร์ทอัพ ผ่านการ ◾️ดูแลภาพรวมของโครงการบ่มเพาะ ◾️ประสานงานผู้เข้าร่วม/วิทยากร ◾️เอกสารโครงการที่เกี่ยวข้อง ◾️ช่วยงานอื่นๆ ของ CU Innovation Hub (ถ้าสนใจ) 📌สมัครได้เลยที่ลิงค์นี้ //forms.gle/FE3JXWP8R7qYnhoT7 🔻รับสมัครตั้งแต่วันนี้-25 สิงหาคม 2564 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือกและนัดสัมภาษณ์ผ่านทางอีเมล อ่านต่อ

📍5 วันสุดท้าย! เปิดรับสมัครนิสิตฝึกงานโครงการอบรมบ่มเพาะสตาร์ทอัพ ฝ่ายจัดกิจกรรมและประสานสตาร์ทอัพ ผ่านการ ◾️ดูแลภาพรวมของโครงการบ่มเพาะ ◾️ประสานงานผู้เข้าร่วม/วิทยากร ◾️เอกสารโครงการที่เกี่ยวข้อง ◾️ช่วยงานอื่นๆ ของ CU Innovation Hub (ถ้าสนใจ) 📌สมัครได้เลยที่ลิงค์นี้ //forms.gle/FE3JXWP8R7qYnhoT7 🔻รับสมัครตั้งแต่วันนี้-25 สิงหาคม 2564 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือกและนัดสัมภาษณ์ผ่านทางอีเมล

📍5 วันสุดท้าย! เปิดรับสมัครนิสิตฝึกงานโครงการอบรมบ่มเพาะสตาร์ทอัพ ฝ่ายจัดกิจกรรมและประสานสตาร์ทอัพ ผ่านการ ◾️ดูแลภาพรวมของโครงการบ่มเพาะ ◾️ประสานงานผู้เข้าร่วม/วิทยากร ◾️เอกสารโครงการที่เกี่ยวข้อง ◾️ช่วยงานอื่นๆ ของ CU Innovation Hub (ถ้าสนใจ) 📌สมัครได้เลยที่ลิงค์นี้ //forms.gle/FE3JXWP8R7qYnhoT7 🔻รับสมัครตั้งแต่วันนี้-25 สิงหาคม 2564 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือกและนัดสัมภาษณ์ผ่านทางอีเมล อ่านต่อ

วันพฤหัสบดีที่ 19 สิงหาคม 2564 พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ตรวจเยี่ยมการวิจัยและพัฒนาวัคซีน ChulaCOV19 และจุฬาฯ ใบยา ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และระบบติดตามผู้ป่วยโควิด-19 ใน Home Isolation โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ณ อาคาร ส.ธ. ชั้น 4 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โดยมี ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาฯ และ ศ.นพ.สุทธิพงศ์ วัชรสินธุ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ศ.พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ต้อนรับ ในโอกาสนี้นายกรัฐมนตรีรับฟังการบรรยายสรุปการดำเนินงานด้านโควิด-19 ของจุฬาฯ โดย ศ.นพ.สุทธิพงศ์ วัชรสินธุ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย จากนั้นได้พูดคุยกับผู้ป่วยที่ดูแลที่บ้านผ่านระบบ TeleHealth และรับฟังการบรรยายสรุปการพัฒนาวัคซีน ChulaCOV19 ชนิด mRNA โดย ศ.นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม ผู้อำนวยการบริหารโครงการพัฒนาวัคซีนโควิด -19 ศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ต่อมานายกรัฐมนตรีพร้อมด้วย พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ศ.พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ได้เดินทางมาที่อาคารจุฬาพัฒน์ 14 ตรวจเยี่ยมการวิจัยและพัฒนาวัคซีนโควิด-19 โดยใช้เซลล์พืชเป็นแหล่งผลิต (วัคซีนใบยา) ซึ่งพัฒนาขึ้นเป็นผลสำเร็จครั้งแรกในประเทศไทย โดยนักวิจัยคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ จากบริษัท ใบยาไฟโตฟาร์ม จำกัด ในโอกาสนี้ นายกรัฐมนตรีได้เยี่ยมชมโรงงานผลิตวัคซีนจากใบยา การเพาะเลี้ยงพืชและผลิตวัคซีน และฟังการบรรยายเรื่อง “การพัฒนาวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย” โดย ศ.นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และการบรรยายเรื่อง “การวิจัยและพัฒนาวัคซีนโดยใช้เซลล์พืชเป็นแหล่งผลิต (วัคซีนใบยา)” โดย ผศ.ภญ.ดร.สุธีรา เตชคุณวุฒิ นักวิจัยและพัฒนาวัคซีน บริษัท ใบยา ไฟโตฟาร์ม จำกัด จากนั้นนายกรัฐมนตรีมอบนโยบายการดำเนินงานด้านวัคซีนในประเทศไทย เพิ่มเติมได้ที่ : //www.chula.ac.th/news/49844/Photos from CU Innovation Hub’s post

วันพฤหัสบดีที่ 19 สิงหาคม 2564 พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ตรวจเยี่ยมการวิจัยและพัฒนาวัคซีน ChulaCOV19 และจุฬาฯ ใบยา ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และระบบติดตามผู้ป่วยโควิด-19 ใน Home Isolation โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ณ อาคาร ส.ธ. ชั้น 4 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โดยมี ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาฯ และ ศ.นพ.สุทธิพงศ์ วัชรสินธุ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ศ.พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ต้อนรับ ในโอกาสนี้นายกรัฐมนตรีรับฟังการบรรยายสรุปการดำเนินงานด้านโควิด-19 ของจุฬาฯ โดย ศ.นพ.สุทธิพงศ์ วัชรสินธุ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย จากนั้นได้พูดคุยกับผู้ป่วยที่ดูแลที่บ้านผ่านระบบ TeleHealth และรับฟังการบรรยายสรุปการพัฒนาวัคซีน […]

🌱 “Chummy”, The best companion for mental health care. สตาร์ทอัพที่อยากส่งเสริมให้คนหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพจิตและทำให้การดูแลสุขภาพจิตเป็นเรื่องที่ไม่น่าเบื่ออีกต่อไป ✨ 🌈 ขณะนี้เราอยู่ในขั้นทดลองและพัฒนาแอปพลิเคชั่น ซึ่งกำลังมองหาผู้ร่วมใช้งานกลุ่มแรก มาใช้งานแอปพลิเคชั่น “Chummy” เวอร์ชั่น Beta ซึ่งจะมาเป็นเพื่อนคู่ใจในการดูเเลสุขภาพจิตของคุณผ่าน features ต่าง ๆ ในเเอปด้วยหลักจิตวิทยาเชิงบวก 💙 📍 โดยสามารถกรอกแบบฟอร์มลงทะเบียนเพื่อรับสิทธิ์การทดลองใช้งานและข่าวสารได้ตามลิ้งค์ด้านล่าง ตั้งแต่วันนี้ ถึง วันที่ 19 สิงหาคม 2564 และสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมในแบบฟอร์มได้เลย ~ 💌 //forms.gle/YRZpS1A8iZe1WU2c9

🌱 “Chummy”, The best companion for mental health care. สตาร์ทอัพที่อยากส่งเสริมให้คนหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพจิตและทำให้การดูแลสุขภาพจิตเป็นเรื่องที่ไม่น่าเบื่ออีกต่อไป ✨ 🌈 ขณะนี้เราอยู่ในขั้นทดลองและพัฒนาแอปพลิเคชั่น ซึ่งกำลังมองหาผู้ร่วมใช้งานกลุ่มแรก มาใช้งานแอปพลิเคชั่น “Chummy” เวอร์ชั่น Beta ซึ่งจะมาเป็นเพื่อนคู่ใจในการดูเเลสุขภาพจิตของคุณผ่าน features ต่าง ๆ ในเเอปด้วยหลักจิตวิทยาเชิงบวก 💙 📍 โดยสามารถกรอกแบบฟอร์มลงทะเบียนเพื่อรับสิทธิ์การทดลองใช้งานและข่าวสารได้ตามลิ้งค์ด้านล่าง ตั้งแต่วันนี้ ถึง วันที่ 19 สิงหาคม 2564 และสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมในแบบฟอร์มได้เลย ~ 💌 //forms.gle/YRZpS1A8iZe1WU2c9 อ่านต่อ

🎯ความก้าวหน้าที่คนไทยรอคอย 💉💉”ChulaCov19″ วัคซีนสัญชาติไทย ป้องกันโควิด ชนิด mRNA เช่นเดียวกับ PfiZer และ Moderna 💥คิดค้นออกแบบและพัฒนา โดยคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย 💥ผลิตโดยสร้างชิ้นส่วนขนาดจิ๋วจากสารพันธุกรรมไวรัสโคโรนา โดยไม่มีการใช้ตัวเชื้อ ซึ่งเมื่อร่างกายได้รับชิ้นส่วนของสารพันธุกรรมเข้าไป จะสร้างโปรตีนที่เป็นส่วนปุ่มหนามของไวรัสขึ้น และกระตุ้นให้เกิดการสร้างภูมิคุ้มกันไว้เตรียมต่อสู้กับไวรัสเมื่อสัมผัสเชื้อ 💥ประสบความสำเร็จจากการทดลองในลิงและหนู พบว่าช่วยยับยั้งไม่ให้เชื้อไวรัสเข้าสู่กระแสเลือดและสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ในระดับสูง จึงนำมาสู่การผลิตและทดสอบทางคลินิกระยะที่ 1 ให้กับอาสาสมัครคนไทย ครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2564 💥จุดเด่น เก็บในอุณหภูมิตู้เย็น 2-8 องศาเซลเซียส ได้นาน 3 เดือน เก็บในอุณหภูมิห้อง 25 องศาเซลเซียส ได้นาน 2 สัปดาห์ 💥”ChulaCov 19″ วัคซีน 1 ใน 4 ชนิดจากกว่า 20 ชนิด 7 เทคโนโลยีของไทยที่มีความก้าวหน้ามากที่สุด ใช้งบประมาณ 375.9 ล้านบาท จาก วช. และงบกลาง #PMOC #ศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี #รวมไทยสร้างชาติ #ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง #ChulaCOVID19 #mRNA //www.facebook.com/104752127576785/posts/606159937435999/

🎯ความก้าวหน้าที่คนไทยรอคอย 💉💉”ChulaCov19″ วัคซีนสัญชาติไทย ป้องกันโควิด ชนิด mRNA เช่นเดียวกับ PfiZer และ Moderna 💥คิดค้นออกแบบและพัฒนา โดยคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย 💥ผลิตโดยสร้างชิ้นส่วนขนาดจิ๋วจากสารพันธุกรรมไวรัสโคโรนา โดยไม่มีการใช้ตัวเชื้อ ซึ่งเมื่อร่างกายได้รับชิ้นส่วนของสารพันธุกรรมเข้าไป จะสร้างโปรตีนที่เป็นส่วนปุ่มหนามของไวรัสขึ้น และกระตุ้นให้เกิดการสร้างภูมิคุ้มกันไว้เตรียมต่อสู้กับไวรัสเมื่อสัมผัสเชื้อ 💥ประสบความสำเร็จจากการทดลองในลิงและหนู พบว่าช่วยยับยั้งไม่ให้เชื้อไวรัสเข้าสู่กระแสเลือดและสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ในระดับสูง จึงนำมาสู่การผลิตและทดสอบทางคลินิกระยะที่ 1 ให้กับอาสาสมัครคนไทย ครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2564 💥จุดเด่น เก็บในอุณหภูมิตู้เย็น 2-8 องศาเซลเซียส ได้นาน 3 เดือน เก็บในอุณหภูมิห้อง 25 องศาเซลเซียส ได้นาน 2 สัปดาห์ 💥”ChulaCov 19″ วัคซีน 1 ใน 4 ชนิดจากกว่า 20 ชนิด 7 เทคโนโลยีของไทยที่มีความก้าวหน้ามากที่สุด ใช้งบประมาณ 375.9 […]

🤔หากคุณสงสัยว่าเป็นนิสิตฝึกงาน CU Innovation Hub ฝ่ายจัดกิจกรรมและประสานสตาร์ทอัพแล้วได้อะไรบ้าง หาคำตอบในโพสต์นี้ได้เลย ไม่ว่าจะเป็น 📍ได้ประสบการณ์การทำงานที่หลากหลาย 📍ได้พัฒนา skill และความรู้ต่าง ๆ ✏️อย่าพลาดโอกาสดีๆ กรอกแบบฟอร์มเพื่อเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของเราได้เลย //forms.gle/FE3JXWP8R7qYnhoT7 เวลารับสมัคร: 9 – 25 สิงหาคม 2564 รอบสัมภาษณ์: 31 สิงหาคม – 7 กันยายน 2564 เวลา 17.00 น.เป็นต้นไป ผ่านทาง ZoomPhotos from CU Innovation Hub’s post

🤔หากคุณสงสัยว่าเป็นนิสิตฝึกงาน CU Innovation Hub ฝ่ายจัดกิจกรรมและประสานสตาร์ทอัพแล้วได้อะไรบ้าง หาคำตอบในโพสต์นี้ได้เลย ไม่ว่าจะเป็น 📍ได้ประสบการณ์การทำงานที่หลากหลาย 📍ได้พัฒนา skill และความรู้ต่าง ๆ ✏️อย่าพลาดโอกาสดีๆ กรอกแบบฟอร์มเพื่อเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของเราได้เลย //forms.gle/FE3JXWP8R7qYnhoT7 เวลารับสมัคร: 9 – 25 สิงหาคม 2564 รอบสัมภาษณ์: 31 สิงหาคม – 7 กันยายน 2564 เวลา 17.00 น.เป็นต้นไป ผ่านทาง Zoom อ่านต่อ

📍CU Innovation Hub รับสมัครนิสิตฝึกงานโครงการอบรมบ่มเพาะสตาร์ทอัพ ฝ่ายจัดกิจกรรมและประสานสตาร์ทอัพ ผ่านการ ◾️ดูแลภาพรวมของโครงการบ่มเพาะ ◾️ประสานงานผู้เข้าร่วม/วิทยากร ◾️เอกสารโครงการที่เกี่ยวข้อง ◾️ช่วยงานอื่นๆ ของ CU Innovation Hub (ถ้าสนใจ) ระยะเวลาการฝึกงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2564 – สิงหาคม 2565 ทำงานเฉลี่ย 10-15 ชั่วโมง/สัปดาห์ คุณสมบัติ ◾️ นิสิตจุฬาฯ ทุกคณะ ทุกชั้นปี ◾️ พร้อมเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ มีทัศนคติเปิดกว้าง มีความคิดสร้างสรรค์ ◾️ เข้ากับคนง่าย อัธยาศัยดี กล้าคุยกับคนแปลกหน้า และรับฟังความเห็นผู้อื่น ◾️ มีทักษะในการสื่อสาร และสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ ◾️ อยากเรียนรู้ฝึกฝนผ่านการทำงานจริงและพัฒนาศักยภาพตนเอง เวลารับสมัคร: 9 – 25 สิงหาคม 2564 รอบสัมภาษณ์: 31 สิงหาคม – 7 กันยายน 2564 เวลา 17.00 น.เป็นต้นไป ผ่านทาง Zoom ✏️กรอกฟอร์มเพื่อเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของเรา //forms.gle/FE3JXWP8R7qYnhoT7

📍CU Innovation Hub รับสมัครนิสิตฝึกงานโครงการอบรมบ่มเพาะสตาร์ทอัพ ฝ่ายจัดกิจกรรมและประสานสตาร์ทอัพ ผ่านการ ◾️ดูแลภาพรวมของโครงการบ่มเพาะ ◾️ประสานงานผู้เข้าร่วม/วิทยากร ◾️เอกสารโครงการที่เกี่ยวข้อง ◾️ช่วยงานอื่นๆ ของ CU Innovation Hub (ถ้าสนใจ) ระยะเวลาการฝึกงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2564 – สิงหาคม 2565 ทำงานเฉลี่ย 10-15 ชั่วโมง/สัปดาห์ คุณสมบัติ ◾️ นิสิตจุฬาฯ ทุกคณะ ทุกชั้นปี ◾️ พร้อมเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ มีทัศนคติเปิดกว้าง มีความคิดสร้างสรรค์ ◾️ เข้ากับคนง่าย อัธยาศัยดี กล้าคุยกับคนแปลกหน้า และรับฟังความเห็นผู้อื่น ◾️ มีทักษะในการสื่อสาร และสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ ◾️ อยากเรียนรู้ฝึกฝนผ่านการทำงานจริงและพัฒนาศักยภาพตนเอง เวลารับสมัคร: 9 – 25 สิงหาคม 2564 รอบสัมภาษณ์: 31 สิงหาคม – 7 กันยายน […]

𝐄𝐥𝐬𝐞𝐯𝐢𝐞𝐫 𝐄𝐱𝐩𝐞𝐫𝐭 𝐒𝐞𝐫𝐢𝐞𝐬 𝐖𝐞𝐛𝐢𝐧𝐚𝐫: 𝐔𝐧𝐢𝐯𝐞𝐫𝐬𝐢𝐭𝐢𝐞𝐬 𝐢𝐧 𝐀𝐜𝐭𝐢𝐨𝐧𝐬! 𝐇𝐨𝐰 𝐀𝐜𝐚𝐝𝐞𝐦𝐢𝐜 𝐂𝐨𝐦𝐦𝐮𝐧𝐢𝐭𝐢𝐞𝐬 𝐂𝐨𝐧𝐭𝐫𝐢𝐛𝐮𝐭𝐞 𝐭𝐨 𝐀𝐜𝐡𝐢𝐞𝐯𝐢𝐧𝐠 𝐒𝐃𝐆𝐬 . In the spirit of celebrating Southeast Asia academic communities’ achievements towards SDGs, Elsevier and Chulalongkorn University would like to invite all to an expert sharing session, Elsevier Expert Series Webinar: Universities in Actions! How Academic Communities Contribute to Achieving SDGs. . The webinar will be held on Wednesday, 28 July 2021, 14.00-16.00 (Thailand, Indonesia, and Vietnam) via Zoom. . Distinguished Speakers for the webinar include: 1. Dr. Saidatulakmal Mohd – Director at the Centre for Global Sustainability Studies – Universiti Sains Malaysia (Rank 1st in Malaysia for THE Impact Ranking 2021). 2. Assoc. Prof. Natcha Thawesaengskulthai, PhD – Vice President for Strategic Planning, Innovation, and Global Engagement – Chulalongkorn University, Thailand (Rank 1st in Southeast Asia for THE Impact Ranking 2021). 3. Anders Karlsson, PhD – Vice President of Global Strategic Networks – Elsevier 4. Kana Takasaka – Data Scientist an Analyst – Elsevier Japan . All interested can register in advance at bit.ly/ELEXP21. For more information, visit //www.chula.ac.th/en/news/48999/ #Chula #FutureLeader #Sustainability #SDGs

𝐄𝐥𝐬𝐞𝐯𝐢𝐞𝐫 𝐄𝐱𝐩𝐞𝐫𝐭 𝐒𝐞𝐫𝐢𝐞𝐬 𝐖𝐞𝐛𝐢𝐧𝐚𝐫: 𝐔𝐧𝐢𝐯𝐞𝐫𝐬𝐢𝐭𝐢𝐞𝐬 𝐢𝐧 𝐀𝐜𝐭𝐢𝐨𝐧𝐬! 𝐇𝐨𝐰 𝐀𝐜𝐚𝐝𝐞𝐦𝐢𝐜 𝐂𝐨𝐦𝐦𝐮𝐧𝐢𝐭𝐢𝐞𝐬 𝐂𝐨𝐧𝐭𝐫𝐢𝐛𝐮𝐭𝐞 𝐭𝐨 𝐀𝐜𝐡𝐢𝐞𝐯𝐢𝐧𝐠 𝐒𝐃𝐆𝐬 . In the spirit of celebrating Southeast Asia academic communities’ achievements towards SDGs, Elsevier and Chulalongkorn University would like to invite all to an expert sharing session, Elsevier Expert Series Webinar: Universities in Actions! How Academic Communities Contribute to Achieving SDGs. […]

Scroll to top