สุดยอดนวัตกร ประกาศแล้วทีมผู้ชนะเลิศ สามโปรเจคต์นวัตกรรมสุดเจ๋ง! “TSX Sustainable Innovation Competition & Hackathon” หนึ่งในกิจกรรมของงาน Thailand Sustainability Expo 2021 หรือ TSX 2021 เฟ้นหาสุดยอดทีมนวัตกรได้สำเร็จพร้อมประกาศผลแล้ว ซึ่งทั้ง 7 ทีมที่ผ่านเข้ารอบได้ร่วมกิจกรรมกันแบบเข้มข้นมากๆ ตั้งแต่ รอบ Incubation และ Hackathon ต่อเนื่อง 48 ชั่วโมง พร้อมล่าสุดได้นำเสนอผลงานนวัตกรรมใหม่ๆ ต่อหน้าคณะกรรมการ ประกอบด้วย 1. ดร.สวนิตย์ บุญญาสุวัฒน์ ผู้จัดการฝ่ายหน่วยงานกลยุทธ์และบริหารความยั่งยืนขององค์กร บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2. คุณชวาทิก วินน์ วนาเกษมสันต์ Head of Wellness Living & Asset Management Thai Group Holding Public Company Limited Southeast Insurance & Finance Group 3. รศ.ดร.ณัฐชา ทวีแสงสกุลไทย รองอธิการบดี ด้านการวางและกำหนดยุทธศาสตร์ นวัตกรรม และพันธกิจสากล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. คุณมาริสรา ศัตรูลี้ ASEAN Knowledge Community Management Manager C asean 5.คุณเมธวิน ปิติพรวิวัฒน์ CEO & Co-Founder BASE Playhouse บรรยากาศการแข่งขันเป็นไปอย่างเข้มข้น ทุกทีมล้วนมีโปรเจคต์น่าสนใจ และที่สุดแล้วผลการตัดสิน รางวัลชนะเลิศ สุดยอดนวัตกร กับ TSX Hackathon ปี 2564 ได้แก่ ทีม ATTRA โดย Business Model Innovation คือ PULSED UVC ประยุกต์มาจากอุตสาหกรรมอาหาร จากแนวคิด ปัจจุบันการแพร่ระบาดโควิด เราไม่สามารถรู้ได้เลยว่า มันอยู่ที่ไหน หยุดเมื่อไหร่ และเราเป็นคนแพร่เชื้อหรือเปล่า ดังจะเห็นได้ว่ามีหลายเคส ไม่ได้เป็นผู้ใกล้ชิด ดังนั้นทีมจึงได้สร้างสรรค์พัฒนาระบบ PULSED UVC (ที่กระแส 2 แอมแปร์ จะได้พลังงาน 240-360 mJ./cm) โดยพลังงานดังกล่าวจะนำไปใช้ในการจุดหลอดให้ทำการฉายรังสี UVC ประสิทธิภาพทดสอบ เครื่องนี้สามารถฆ่าเชื้อได้ 99.99 เปอร์เซ็นต์, ใช้ระยะเวลา 30-60 วินาที และใช้ต้นทุนเพียงสี่บาทต่อชั่วโมง เทียบกับประสิทธิภาพ สามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายและความเสียหายที่จะเกิดขึ้น รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ได้แก่ ทีม Share Care นำเสนอ Business Model Innovation คือ Paradise Pocket Space จากแนวคิด คนรุ่นใหม่ในเมืองต้องการพื้นที่สีเขียว แต่กรุงเทพฯ ของเรา มีพื้นที่สีเขียว เมื่อเทียบกับเมืองอื่นๆ ของโลกน้อย สวนดังกล่าว จะช่วยลดอุปสรรคในการเข้าถึงพื้นที่สีเขียว และดีไซน์ฟังก์ชันต่างๆ ให้ตอบโจทย์ พร้อมเชื่อว่าจะช่วยแก้ปัญหาการปล่อยพื้นที่รกร้างในเมืองหลวงไว้โดยไม่ใช้ประโยชน์ ซึ่งมีอีกมากมายหลายแปลง และคำนวณต้นทุนและรายได้แล้ว มีความใกล้เคียงไปจนถึงคุ้มค่ากว่าการปล่อยเช่าธรรมดา รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ได้แก่ ทีม NOPANIC MASK NANOFILTER Business Model Innovation คือ NOPANIC MASK NANOFILTER จากแนวคิด ทุกวันนี้เวลาออกจากบ้าน สิ่งที่ติดตัวคนเราหน้ากาก ทำตกหนึ่งครั้ง ซื้อใหม่ หรือเปลี่ยนวันก็เปลี่ยนใหม่ ทำให้มีขยะติดเชื้อ เพิ่มขึ้นถึง 19,200 ล้านชิ้นต่อหนึ่งปี ทั้งนี้การย่อยสลาย ในบางประเภทอาจใช้เวลาชั่วชีวิต ทีมจึงหาทางออกว่า วิธีไหนที่เราสามารถรับมือกับเชื้อโรคได้โดยไม่สร้างขยะเพิ่ม อีกทั้งยังสามารถแก้ปัญหาระบบชลประทานได้ ท้ายสุด ทีมผู้ชนะรางวัลที่ 1 – 3 จะเข้าไปรับโล่และเงินรางวัล ในพิธีปิดงาน TSX 2021 ในวันอาทิตย์ที่ 10 ตุลาคม นี้ ที่ ศูนย์ C asean #TSX2021 #TSXHackathon #Casean #CUIHub #ChulaInnovationForSociety #CUInnovationHub #SEENAbilityPhotos from CU Innovation Hub’s post

สุดยอดนวัตกร ประกาศแล้วทีมผู้ชนะเลิศ สามโปรเจคต์นวัตกรรมสุดเจ๋ง!

“TSX Sustainable Innovation Competition & Hackathon” หนึ่งในกิจกรรมของงาน Thailand Sustainability Expo 2021 หรือ TSX 2021 เฟ้นหาสุดยอดทีมนวัตกรได้สำเร็จพร้อมประกาศผลแล้ว ซึ่งทั้ง 7 ทีมที่ผ่านเข้ารอบได้ร่วมกิจกรรมกันแบบเข้มข้นมากๆ ตั้งแต่ รอบ Incubation และ Hackathon ต่อเนื่อง 48 ชั่วโมง พร้อมล่าสุดได้นำเสนอผลงานนวัตกรรมใหม่ๆ ต่อหน้าคณะกรรมการ ประกอบด้วย
1. ดร.สวนิตย์ บุญญาสุวัฒน์
ผู้จัดการฝ่ายหน่วยงานกลยุทธ์และบริหารความยั่งยืนขององค์กร
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน)
2. คุณชวาทิก วินน์ วนาเกษมสันต์
Head of Wellness Living & Asset Management
Thai Group Holding Public Company Limited Southeast Insurance & Finance Group
3. รศ.ดร.ณัฐชา ทวีแสงสกุลไทย
รองอธิการบดี ด้านการวางและกำหนดยุทธศาสตร์ นวัตกรรม
และพันธกิจสากล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. คุณมาริสรา ศัตรูลี้
ASEAN Knowledge Community Management Manager C asean
5.คุณเมธวิน ปิติพรวิวัฒน์
CEO & Co-Founder BASE Playhouse

บรรยากาศการแข่งขันเป็นไปอย่างเข้มข้น ทุกทีมล้วนมีโปรเจคต์น่าสนใจ และที่สุดแล้วผลการตัดสิน
รางวัลชนะเลิศ สุดยอดนวัตกร กับ TSX Hackathon ปี 2564 ได้แก่ ทีม ATTRA โดย Business Model Innovation คือ PULSED UVC ประยุกต์มาจากอุตสาหกรรมอาหาร จากแนวคิด ปัจจุบันการแพร่ระบาดโควิด เราไม่สามารถรู้ได้เลยว่า มันอยู่ที่ไหน หยุดเมื่อไหร่ และเราเป็นคนแพร่เชื้อหรือเปล่า ดังจะเห็นได้ว่ามีหลายเคส ไม่ได้เป็นผู้ใกล้ชิด ดังนั้นทีมจึงได้สร้างสรรค์พัฒนาระบบ PULSED UVC (ที่กระแส 2 แอมแปร์ จะได้พลังงาน 240-360 mJ./cm) โดยพลังงานดังกล่าวจะนำไปใช้ในการจุดหลอดให้ทำการฉายรังสี UVC ประสิทธิภาพทดสอบ เครื่องนี้สามารถฆ่าเชื้อได้ 99.99 เปอร์เซ็นต์, ใช้ระยะเวลา 30-60 วินาที และใช้ต้นทุนเพียงสี่บาทต่อชั่วโมง เทียบกับประสิทธิภาพ สามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายและความเสียหายที่จะเกิดขึ้น

รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ได้แก่ ทีม Share Care นำเสนอ Business Model Innovation คือ Paradise Pocket Space จากแนวคิด คนรุ่นใหม่ในเมืองต้องการพื้นที่สีเขียว แต่กรุงเทพฯ ของเรา มีพื้นที่สีเขียว เมื่อเทียบกับเมืองอื่นๆ ของโลกน้อย สวนดังกล่าว จะช่วยลดอุปสรรคในการเข้าถึงพื้นที่สีเขียว และดีไซน์ฟังก์ชันต่างๆ ให้ตอบโจทย์ พร้อมเชื่อว่าจะช่วยแก้ปัญหาการปล่อยพื้นที่รกร้างในเมืองหลวงไว้โดยไม่ใช้ประโยชน์ ซึ่งมีอีกมากมายหลายแปลง และคำนวณต้นทุนและรายได้แล้ว มีความใกล้เคียงไปจนถึงคุ้มค่ากว่าการปล่อยเช่าธรรมดา

รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ได้แก่ ทีม NOPANIC MASK NANOFILTER Business Model Innovation คือ NOPANIC MASK NANOFILTER จากแนวคิด ทุกวันนี้เวลาออกจากบ้าน สิ่งที่ติดตัวคนเราหน้ากาก ทำตกหนึ่งครั้ง ซื้อใหม่ หรือเปลี่ยนวันก็เปลี่ยนใหม่ ทำให้มีขยะติดเชื้อ เพิ่มขึ้นถึง 19,200 ล้านชิ้นต่อหนึ่งปี ทั้งนี้การย่อยสลาย ในบางประเภทอาจใช้เวลาชั่วชีวิต ทีมจึงหาทางออกว่า วิธีไหนที่เราสามารถรับมือกับเชื้อโรคได้โดยไม่สร้างขยะเพิ่ม อีกทั้งยังสามารถแก้ปัญหาระบบชลประทานได้

ท้ายสุด ทีมผู้ชนะรางวัลที่ 1 – 3 จะเข้าไปรับโล่และเงินรางวัล ในพิธีปิดงาน TSX 2021
ในวันอาทิตย์ที่ 10 ตุลาคม นี้ ที่ ศูนย์ C asean

#TSX2021 #TSXHackathon #Casean #CUIHub #ChulaInnovationForSociety
#CUInnovationHub #SEENAbility

อ่านต่อ

สุดยอดนวัตกร ประกาศแล้วทีมผู้ชนะเลิศ สามโปรเจคต์นวัตกรรมสุดเจ๋ง! “TSX Sustainable Innovation Competition & Hackathon” หนึ่งในกิจกรรมของงาน Thailand Sustainability Expo 2021 หรือ TSX 2021 เฟ้นหาสุดยอดทีมนวัตกรได้สำเร็จพร้อมประกาศผลแล้ว ซึ่งทั้ง 7 ทีมที่ผ่านเข้ารอบได้ร่วมกิจกรรมกันแบบเข้มข้นมากๆ ตั้งแต่ รอบ Incubation และ Hackathon ต่อเนื่อง 48 ชั่วโมง พร้อมล่าสุดได้นำเสนอผลงานนวัตกรรมใหม่ๆ ต่อหน้าคณะกรรมการ ประกอบด้วย 1. ดร.สวนิตย์ บุญญาสุวัฒน์ ผู้จัดการฝ่ายหน่วยงานกลยุทธ์และบริหารความยั่งยืนขององค์กร บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2. คุณชวาทิก วินน์ วนาเกษมสันต์ Head of Wellness Living & Asset Management Thai Group Holding Public Company Limited Southeast Insurance & Finance Group 3. รศ.ดร.ณัฐชา ทวีแสงสกุลไทย รองอธิการบดี ด้านการวางและกำหนดยุทธศาสตร์ นวัตกรรม และพันธกิจสากล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. คุณมาริสรา ศัตรูลี้ ASEAN Knowledge Community Management Manager C asean 5.คุณเมธวิน ปิติพรวิวัฒน์ CEO & Co-Founder BASE Playhouse บรรยากาศการแข่งขันเป็นไปอย่างเข้มข้น ทุกทีมล้วนมีโปรเจคต์น่าสนใจ และที่สุดแล้วผลการตัดสิน รางวัลชนะเลิศ สุดยอดนวัตกร กับ TSX Hackathon ปี 2564 ได้แก่ ทีม ATTRA โดย Business Model Innovation คือ PULSED UVC ประยุกต์มาจากอุตสาหกรรมอาหาร จากแนวคิด ปัจจุบันการแพร่ระบาดโควิด เราไม่สามารถรู้ได้เลยว่า มันอยู่ที่ไหน หยุดเมื่อไหร่ และเราเป็นคนแพร่เชื้อหรือเปล่า ดังจะเห็นได้ว่ามีหลายเคส ไม่ได้เป็นผู้ใกล้ชิด ดังนั้นทีมจึงได้สร้างสรรค์พัฒนาระบบ PULSED UVC (ที่กระแส 2 แอมแปร์ จะได้พลังงาน 240-360 mJ./cm) โดยพลังงานดังกล่าวจะนำไปใช้ในการจุดหลอดให้ทำการฉายรังสี UVC ประสิทธิภาพทดสอบ เครื่องนี้สามารถฆ่าเชื้อได้ 99.99 เปอร์เซ็นต์, ใช้ระยะเวลา 30-60 วินาที และใช้ต้นทุนเพียงสี่บาทต่อชั่วโมง เทียบกับประสิทธิภาพ สามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายและความเสียหายที่จะเกิดขึ้น รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ได้แก่ ทีม Share Care นำเสนอ Business Model Innovation คือ Paradise Pocket Space จากแนวคิด คนรุ่นใหม่ในเมืองต้องการพื้นที่สีเขียว แต่กรุงเทพฯ ของเรา มีพื้นที่สีเขียว เมื่อเทียบกับเมืองอื่นๆ ของโลกน้อย สวนดังกล่าว จะช่วยลดอุปสรรคในการเข้าถึงพื้นที่สีเขียว และดีไซน์ฟังก์ชันต่างๆ ให้ตอบโจทย์ พร้อมเชื่อว่าจะช่วยแก้ปัญหาการปล่อยพื้นที่รกร้างในเมืองหลวงไว้โดยไม่ใช้ประโยชน์ ซึ่งมีอีกมากมายหลายแปลง และคำนวณต้นทุนและรายได้แล้ว มีความใกล้เคียงไปจนถึงคุ้มค่ากว่าการปล่อยเช่าธรรมดา รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ได้แก่ ทีม NOPANIC MASK NANOFILTER Business Model Innovation คือ NOPANIC MASK NANOFILTER จากแนวคิด ทุกวันนี้เวลาออกจากบ้าน สิ่งที่ติดตัวคนเราหน้ากาก ทำตกหนึ่งครั้ง ซื้อใหม่ หรือเปลี่ยนวันก็เปลี่ยนใหม่ ทำให้มีขยะติดเชื้อ เพิ่มขึ้นถึง 19,200 ล้านชิ้นต่อหนึ่งปี ทั้งนี้การย่อยสลาย ในบางประเภทอาจใช้เวลาชั่วชีวิต ทีมจึงหาทางออกว่า วิธีไหนที่เราสามารถรับมือกับเชื้อโรคได้โดยไม่สร้างขยะเพิ่ม อีกทั้งยังสามารถแก้ปัญหาระบบชลประทานได้ ท้ายสุด ทีมผู้ชนะรางวัลที่ 1 – 3 จะเข้าไปรับโล่และเงินรางวัล ในพิธีปิดงาน TSX 2021 ในวันอาทิตย์ที่ 10 ตุลาคม นี้ ที่ ศูนย์ C asean #TSX2021 #TSXHackathon #Casean #CUIHub #ChulaInnovationForSociety #CUInnovationHub #SEENAbilityPhotos from CU Innovation Hub’s post

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

Scroll to top