วัคซีนโควิดฝีมือคนไทย วัคซีนที่ใช้เทคนิคการผลิตโปรตีนจากใบพืช โดยใส่รหัสพันธุกรรมในใบพืช เพื่อให้พืชปลิตโปรตีนออกมา และใช้กระบวนการทำให้โปรตีนบริสุทธิ์แยะออกมาจากโปรตีนอื่นๆของพืช นำโปรตีนมาศึกษาลักษณะโครงสร้างก่อนที่จะนำไปใช้พัฒนาวัคซีน สร้างภูมิคุ้มกันในการยับยั้งเชื้อไวรัส โดย ผศ.ภญ.ดร.สุธีรา เตชคุณวุฒิ และ รศ.ดร.วรัญญู พูลเจริญ อาจารย์ประจำคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สองผู้ก่อตั้ง ซึ่งเป็น CEO และ CTO ของบริษัทใบยาไฟโตฟาร์ม จำกัด สตาร์ทอัพในความดูแลของ CU Enterprise วัคซีนของใบยาไฟโตฟาร์ม ประสบความสำเร็จในการพัฒนาในหนูและในลิงแล้ว กำลังจะทดสอบ “ผลอันไม่พึงประสงค์” ในหนูตัวใหญ่ และคาดว่าจะเริ่มผลิต ด้วยความร่วมมือจากหลายๆฝ่าย รวมถึง องค์การเภสัชกรรม และ KINGEN BIOTECH ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และจะนำไปทดสอบในคนช่วงกลางปี 2564 โดยคาดว่า ไม่เกินปลายปี 2564 คนไทยน่าจะได้ใช้วัคซีนตัวนี้ ข้อดีของวัคซีนจากโปรตีนจากใบพืชคือใช้เวลาผลิตโปรตีนไม่นาน จึงเหมาะสำหรับโรคอุบัติใหม่ เพราะผลิตโปรตีนได้ปริมาณสูงที่สุด ในระยะเวลาที่สั้นที่สุด และหากเชื้อไวรัสมีการกลายพันธุ์ ก็จะสามารถป้อนรหัสพันธุกรรมเพื่อผลิตโปรตีนใหม่มารองรับได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ การเลือกชิ้นส่วนเดียวของโปรตีนที่เราทราบว่ากระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ดี ก็จะทำให้ผลข้างเคียงอันไม่พึงประสงค์น้อยกว่าวัคซีนแบบเชื้อเป็นหรือเชื้อตาย ซึ่งมีส่วนประกอบของโปรตีนของเชื้อหลายชนิด จึงอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงได้สูงกว่า การนำโปรตีนพืชมาใช้ทำยาหรือวัคซีนเป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาหลายปีแล้ว โดยที่นำไปใช้ในการรักษาผู้ป่วยด้วยไวรัสอีโบลา (Ebola Virus Disease – EVD) ด้วยการเพิ่มภูมิคุ้มกันในร่างกาย ปัจจุบัน บริษัทอื่นๆที่กำลังวิจัยวัคซีนที่ทำจากโปรตีนจากใบพืช เช่นกัน คือ บริษัท British American Tobacco (BTI) ผู้ผลิตบุหรี ลักกี้ สไตรค์ และบริษัท Medicago Inc.ของแคนาดา ซึ่งเป็นบริษัทที่ Philip Morris International Inc. (PM) ผู้ผลิตบุหรียี่ห้อ Marlboro ถือหุ้นอยู่ส่วนหนึ่ง และ บริษัท Kentucky BioProcessing ของ R.J. Reynolds Tobacco ผู้เป็นเจ้าของบุหรียี่ห้อ Camel ในสหรัฐอเมริกา และเคยเป็นเจ้าของบุหรียี่ห้อ Winston และ Salem ก่อนที่จะขายไปให้บริษัทญี่ปุ่นในปีพ.ศ. 2558 รศ.ดร.วรัญญู พูลเจริญ ได้ศึกษาวิจัยเรื่องโปรตีน จนถือเป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องโปรตีนจากพืช ที่หาตัวจับยากของประเทศไทย เมื่อมาจับมือกับ ผศ.ภญ.ดร.สุธีรา เตชคุณวุฒิ ซึ่งต้องการให้เภสัชกรของไทยคิดค้นและผลิตยาเองได้ จึงเกิดโครงการผลิตโปรตีนจากพืช ซึ่งสามารถพัฒนาใช้เป็นยา เป็นวัคซีน เป็นเครื่องสำอาง และอื่นๆได้ และเมื่อมีการระบาดของไวรัสโควิด-19 งานวิจัยที่ทำและประสบการณ์ที่สั่งสมมาจึงสามารถนำออกมาต่อยอดได้ทันที งานวิจัยนี้ถือเป็นงานวิจัยโดยคนไทย 100% ซึ่งจะช่วยให้เราสามารถผลิตวัคซีนเพียงพอสำหรับใช้กับประชากรทุกคนด้วยต้นทุนที่ไม่แพง มีความคล่องตัว และยังสามารถส่งออกไปยังประเทศต่างๆในภูมิภาค ถือเป็นความภูมิใจของคนไทยทุกคนค่ะ ว่านักวิจัยของไทยเราก็เก่งไม่น้อยหน้าใครในโลก //www.bangkokbiznews.com/blog/detail/651653 #homecomingpharmachula #นวัตกรรมวัคซีนจากพืช #วัคซีนโควิดจากคณะเภสัชจุฬา วัคซีนโควิดฝีมือคนไทย | วิวรรณ ธาราหิรัญโชติwww.bangkokbiznews.comแม้จะมีข่าวดีเรื่องการผลิตวัคซีนป้องกันโควิดที่เร็วกว่าความคาดหมาย ทั้งของไฟเซอร์ โมเดอร์นา และแอสตราเ…

วัคซีนโควิดฝีมือคนไทย

วัคซีนที่ใช้เทคนิคการผลิตโปรตีนจากใบพืช โดยใส่รหัสพันธุกรรมในใบพืช เพื่อให้พืชปลิตโปรตีนออกมา และใช้กระบวนการทำให้โปรตีนบริสุทธิ์แยะออกมาจากโปรตีนอื่นๆของพืช นำโปรตีนมาศึกษาลักษณะโครงสร้างก่อนที่จะนำไปใช้พัฒนาวัคซีน สร้างภูมิคุ้มกันในการยับยั้งเชื้อไวรัส โดย ผศ.ภญ.ดร.สุธีรา เตชคุณวุฒิ และ รศ.ดร.วรัญญู พูลเจริญ อาจารย์ประจำคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สองผู้ก่อตั้ง ซึ่งเป็น CEO และ CTO ของบริษัทใบยาไฟโตฟาร์ม จำกัด สตาร์ทอัพในความดูแลของ CU Enterprise

วัคซีนของใบยาไฟโตฟาร์ม ประสบความสำเร็จในการพัฒนาในหนูและในลิงแล้ว กำลังจะทดสอบ “ผลอันไม่พึงประสงค์” ในหนูตัวใหญ่ และคาดว่าจะเริ่มผลิต ด้วยความร่วมมือจากหลายๆฝ่าย รวมถึง องค์การเภสัชกรรม และ KINGEN BIOTECH ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และจะนำไปทดสอบในคนช่วงกลางปี 2564 โดยคาดว่า ไม่เกินปลายปี 2564 คนไทยน่าจะได้ใช้วัคซีนตัวนี้

ข้อดีของวัคซีนจากโปรตีนจากใบพืชคือใช้เวลาผลิตโปรตีนไม่นาน จึงเหมาะสำหรับโรคอุบัติใหม่ เพราะผลิตโปรตีนได้ปริมาณสูงที่สุด ในระยะเวลาที่สั้นที่สุด และหากเชื้อไวรัสมีการกลายพันธุ์ ก็จะสามารถป้อนรหัสพันธุกรรมเพื่อผลิตโปรตีนใหม่มารองรับได้อย่างรวดเร็ว

นอกจากนี้ การเลือกชิ้นส่วนเดียวของโปรตีนที่เราทราบว่ากระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ดี ก็จะทำให้ผลข้างเคียงอันไม่พึงประสงค์น้อยกว่าวัคซีนแบบเชื้อเป็นหรือเชื้อตาย ซึ่งมีส่วนประกอบของโปรตีนของเชื้อหลายชนิด จึงอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงได้สูงกว่า

การนำโปรตีนพืชมาใช้ทำยาหรือวัคซีนเป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาหลายปีแล้ว โดยที่นำไปใช้ในการรักษาผู้ป่วยด้วยไวรัสอีโบลา (Ebola Virus Disease – EVD) ด้วยการเพิ่มภูมิคุ้มกันในร่างกาย

ปัจจุบัน บริษัทอื่นๆที่กำลังวิจัยวัคซีนที่ทำจากโปรตีนจากใบพืช เช่นกัน คือ บริษัท British American Tobacco (BTI) ผู้ผลิตบุหรี ลักกี้ สไตรค์ และบริษัท Medicago Inc.ของแคนาดา ซึ่งเป็นบริษัทที่ Philip Morris International Inc. (PM) ผู้ผลิตบุหรียี่ห้อ Marlboro ถือหุ้นอยู่ส่วนหนึ่ง และ บริษัท Kentucky BioProcessing ของ R.J. Reynolds Tobacco ผู้เป็นเจ้าของบุหรียี่ห้อ Camel ในสหรัฐอเมริกา และเคยเป็นเจ้าของบุหรียี่ห้อ Winston และ Salem ก่อนที่จะขายไปให้บริษัทญี่ปุ่นในปีพ.ศ. 2558

รศ.ดร.วรัญญู พูลเจริญ ได้ศึกษาวิจัยเรื่องโปรตีน จนถือเป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องโปรตีนจากพืช ที่หาตัวจับยากของประเทศไทย เมื่อมาจับมือกับ ผศ.ภญ.ดร.สุธีรา เตชคุณวุฒิ ซึ่งต้องการให้เภสัชกรของไทยคิดค้นและผลิตยาเองได้ จึงเกิดโครงการผลิตโปรตีนจากพืช ซึ่งสามารถพัฒนาใช้เป็นยา เป็นวัคซีน เป็นเครื่องสำอาง และอื่นๆได้ และเมื่อมีการระบาดของไวรัสโควิด-19 งานวิจัยที่ทำและประสบการณ์ที่สั่งสมมาจึงสามารถนำออกมาต่อยอดได้ทันที

งานวิจัยนี้ถือเป็นงานวิจัยโดยคนไทย 100% ซึ่งจะช่วยให้เราสามารถผลิตวัคซีนเพียงพอสำหรับใช้กับประชากรทุกคนด้วยต้นทุนที่ไม่แพง มีความคล่องตัว และยังสามารถส่งออกไปยังประเทศต่างๆในภูมิภาค ถือเป็นความภูมิใจของคนไทยทุกคนค่ะ ว่านักวิจัยของไทยเราก็เก่งไม่น้อยหน้าใครในโลก
//www.bangkokbiznews.com/blog/detail/651653
#homecomingpharmachula #นวัตกรรมวัคซีนจากพืช #วัคซีนโควิดจากคณะเภสัชจุฬา

แม้จะมีข่าวดีเรื่องการผลิตวัคซีนป้องกันโควิดที่เร็วกว่าความคาดหมาย ทั้งของไฟเซอร์ โมเดอร์นา และแอสตราเ…

อ่านต่อ

วัคซีนโควิดฝีมือคนไทย วัคซีนที่ใช้เทคนิคการผลิตโปรตีนจากใบพืช โดยใส่รหัสพันธุกรรมในใบพืช เพื่อให้พืชปลิตโปรตีนออกมา และใช้กระบวนการทำให้โปรตีนบริสุทธิ์แยะออกมาจากโปรตีนอื่นๆของพืช นำโปรตีนมาศึกษาลักษณะโครงสร้างก่อนที่จะนำไปใช้พัฒนาวัคซีน สร้างภูมิคุ้มกันในการยับยั้งเชื้อไวรัส โดย ผศ.ภญ.ดร.สุธีรา เตชคุณวุฒิ และ รศ.ดร.วรัญญู พูลเจริญ อาจารย์ประจำคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สองผู้ก่อตั้ง ซึ่งเป็น CEO และ CTO ของบริษัทใบยาไฟโตฟาร์ม จำกัด สตาร์ทอัพในความดูแลของ CU Enterprise วัคซีนของใบยาไฟโตฟาร์ม ประสบความสำเร็จในการพัฒนาในหนูและในลิงแล้ว กำลังจะทดสอบ “ผลอันไม่พึงประสงค์” ในหนูตัวใหญ่ และคาดว่าจะเริ่มผลิต ด้วยความร่วมมือจากหลายๆฝ่าย รวมถึง องค์การเภสัชกรรม และ KINGEN BIOTECH ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และจะนำไปทดสอบในคนช่วงกลางปี 2564 โดยคาดว่า ไม่เกินปลายปี 2564 คนไทยน่าจะได้ใช้วัคซีนตัวนี้ ข้อดีของวัคซีนจากโปรตีนจากใบพืชคือใช้เวลาผลิตโปรตีนไม่นาน จึงเหมาะสำหรับโรคอุบัติใหม่ เพราะผลิตโปรตีนได้ปริมาณสูงที่สุด ในระยะเวลาที่สั้นที่สุด และหากเชื้อไวรัสมีการกลายพันธุ์ ก็จะสามารถป้อนรหัสพันธุกรรมเพื่อผลิตโปรตีนใหม่มารองรับได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ การเลือกชิ้นส่วนเดียวของโปรตีนที่เราทราบว่ากระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ดี ก็จะทำให้ผลข้างเคียงอันไม่พึงประสงค์น้อยกว่าวัคซีนแบบเชื้อเป็นหรือเชื้อตาย ซึ่งมีส่วนประกอบของโปรตีนของเชื้อหลายชนิด จึงอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงได้สูงกว่า การนำโปรตีนพืชมาใช้ทำยาหรือวัคซีนเป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาหลายปีแล้ว โดยที่นำไปใช้ในการรักษาผู้ป่วยด้วยไวรัสอีโบลา (Ebola Virus Disease – EVD) ด้วยการเพิ่มภูมิคุ้มกันในร่างกาย ปัจจุบัน บริษัทอื่นๆที่กำลังวิจัยวัคซีนที่ทำจากโปรตีนจากใบพืช เช่นกัน คือ บริษัท British American Tobacco (BTI) ผู้ผลิตบุหรี ลักกี้ สไตรค์ และบริษัท Medicago Inc.ของแคนาดา ซึ่งเป็นบริษัทที่ Philip Morris International Inc. (PM) ผู้ผลิตบุหรียี่ห้อ Marlboro ถือหุ้นอยู่ส่วนหนึ่ง และ บริษัท Kentucky BioProcessing ของ R.J. Reynolds Tobacco ผู้เป็นเจ้าของบุหรียี่ห้อ Camel ในสหรัฐอเมริกา และเคยเป็นเจ้าของบุหรียี่ห้อ Winston และ Salem ก่อนที่จะขายไปให้บริษัทญี่ปุ่นในปีพ.ศ. 2558 รศ.ดร.วรัญญู พูลเจริญ ได้ศึกษาวิจัยเรื่องโปรตีน จนถือเป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องโปรตีนจากพืช ที่หาตัวจับยากของประเทศไทย เมื่อมาจับมือกับ ผศ.ภญ.ดร.สุธีรา เตชคุณวุฒิ ซึ่งต้องการให้เภสัชกรของไทยคิดค้นและผลิตยาเองได้ จึงเกิดโครงการผลิตโปรตีนจากพืช ซึ่งสามารถพัฒนาใช้เป็นยา เป็นวัคซีน เป็นเครื่องสำอาง และอื่นๆได้ และเมื่อมีการระบาดของไวรัสโควิด-19 งานวิจัยที่ทำและประสบการณ์ที่สั่งสมมาจึงสามารถนำออกมาต่อยอดได้ทันที งานวิจัยนี้ถือเป็นงานวิจัยโดยคนไทย 100% ซึ่งจะช่วยให้เราสามารถผลิตวัคซีนเพียงพอสำหรับใช้กับประชากรทุกคนด้วยต้นทุนที่ไม่แพง มีความคล่องตัว และยังสามารถส่งออกไปยังประเทศต่างๆในภูมิภาค ถือเป็นความภูมิใจของคนไทยทุกคนค่ะ ว่านักวิจัยของไทยเราก็เก่งไม่น้อยหน้าใครในโลก //www.bangkokbiznews.com/blog/detail/651653 #homecomingpharmachula #นวัตกรรมวัคซีนจากพืช #วัคซีนโควิดจากคณะเภสัชจุฬา วัคซีนโควิดฝีมือคนไทย | วิวรรณ ธาราหิรัญโชติwww.bangkokbiznews.comแม้จะมีข่าวดีเรื่องการผลิตวัคซีนป้องกันโควิดที่เร็วกว่าความคาดหมาย ทั้งของไฟเซอร์ โมเดอร์นา และแอสตราเ…

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

Scroll to top